(!) เนื่องจาก Microsoft จะหยุดให้การสนับสนุนระบบปฏิบัติการ Windows 7 ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม 2563 และอาจส่งผลให้ผู้ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 7 ไม่สามารถใช้งานเว็บไซต์มิซูมิได้อย่างสมบูรณ์ กรุณาอัพเดทระบบและบราวเซอร์ตามเงื่อนไขระบบที่รองรับมิซูมิเว็บไซต์

    Sales
  • ดูล่าสุด
  • ชิ้นส่วนของฉัน
  • รถเข็น
ผลิตภัณฑ์ที่ดูล่าสุด
X
ชิ้นส่วนของฉัน
X
รถเข็น รายการ
X
Loading...
  • แจ้งวันหยุดทำการในเดือน พฤษภาคม 2567 | Notice holiday in May 2024 > คลิก

เกจวัดแรงดัน

เกจความดัน เป็น เกจวัด สำหรับวัด ความดัน ของก๊าซ เกจวัด ระบบนิวเมติกส์/วงจรลม จะแตกต่างกันตามช่วง ความดัน Class ระบบ และขนาด เลือกตาม สภาพแวดล้อมการใช้งาน ทำงาน โดยปกติแล้วจุด 0 ของ เกจความดัน คือ ความดัน บรรยากาศ เกจวัด ที่ จอแสดงผล ค่าสูงกว่า 0 mpa เรียกว่า เกจวัดความดัน เกจวัด ที่ จอแสดงผล แรงดันลบ เรียกว่า เกจวัดสุญญากาศ และ เกจวัด ที่สามารถแสดงทั้งสองได้เรียกว่า เกจวัด ผสม เลือก เกจวัดความดัน ตามความผันผวนของ ความดัน เป้าหมาย การเลือก เกจวัด ไม่ถูกต้องอาจสร้างความเสียหายไม่เพียง แต่ เกจวัด แต่ยังรวมถึงอุปกรณ์เป้าหมาย ด้วยเหตุผลนี้ เกจวัด ระบบนิวเมติกส์/วงจรลม บางอันมีเครื่องหมายความปลอดภัยเพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดกับอุปกรณ์เป้าหมาย เมื่อใช้สำหรับการแปรรูปอาหารต้องเลือก เกจความดัน แบบถอดออกได้ง่ายเพราะบางครั้งใช้น้ำเดือดสำหรับการจัดการสุขอนามัย
CAD
วันจัดส่ง
  • ทั้งหมด
  • บริการจัดส่งวันเดียวกัน
  • 3 วันหรือน้อยกว่า
  • 4 วันหรือน้อยกว่า
  • 5 วันหรือน้อยกว่า
  • 6 วันหรือน้อยกว่า
  • อื่น ๆ
1 รายการ
เรียงลำดับตาม
30
60
90
  1. 1
  • คุณสามารถเพิ่มได้ถึง 6 รายการต่อหมวดหมู่เพื่อเปรียบเทียบรายการ
    เกจวัดความดัน, ไมโครมาโนมิเตอร์ ชนิด A

    เกจวัดความดัน, ไมโครมาโนมิเตอร์ ชนิด A

    YAMAMOTOKEIKI

    สิ่งนี้ช่วยให้คุณสามารถวัดแรงดันต่ำที่ไม่สามารถวัดได้โดยใช้ สายยาง Bourdonดังนั้นสิ่งนี้ช่วยให้คุณสามารถวัดสิ่งต่างๆเช่นความจุ เครื่องวัดระดับน้ำ ของไหล ของ ถังแรงดัน ดูดของเครื่องยนต์
    เริ่ม: ฿ 2,813.72
    วันจัดส่ง: วันจัดส่ง 6 วัน
    วันจัดส่ง 6 วัน
แบรนด์
ชุดผลิตภัณฑ์
เริ่ม
วันจัดส่ง
พิมพ์
ความดันที่ระบุสูงสุด(Mpa)
เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก(φ)
คุณสามารถเพิ่มได้ถึง 6 รายการต่อหมวดหมู่เพื่อเปรียบเทียบรายการ
เกจวัดความดัน, ไมโครมาโนมิเตอร์ ชนิด A
แบรนด์

YAMAMOTOKEIKI

ชุดผลิตภัณฑ์

เกจวัดความดัน, ไมโครมาโนมิเตอร์ ชนิด A

เริ่ม

฿ 2,813.72

วันจัดส่ง 6 วัน
พิมพ์เกจวัดแรงดัน / อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ
ความดันที่ระบุสูงสุด(Mpa)1.4999999999999999E-2
เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก(φ)75 ~ 100

กำลังโหลด …

  1. 1

กลุ่มสินค้าที่เกี่ยวข้องสำหรับ เกจวัดแรงดัน

FAQ เกจวัดความดัน

Question: เกจวัดแรงดันคืออะไร?
Answer: เกจวัดแรงดัน หรือ เพรสเชอร์เกจ คือ เครื่องมือสำหรับใช้วัดแรงดันของของไหล อาทิ ไอน้ำ, น้ำ, แรงดันลม ในระบบเครื่องจักรหรือระบบท่อในอุตสาหกรรม ที่จำเป็นต้องมีการควบคุมค่าแรงดันให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน โดยมีหน่วยความดันให้เลือกใช้งานมากมาย ตัวอย่างเช่น MPa. , bar, kg/cm2, psi เป็นต้น
Question: เกจวัดแรงดันใช้ในงานประเภทไหน?
Answer: เกจวัดแรงดัน หรือ เพรสเชอร์เกจ โดยส่วนใหญ่มักจะใช้ในงานระบบท่อต่างๆ มีไว้สำหรับใช้อ่านค่าแรงดันของของไหลภายในท่อ ตัวอย่างเช่น ใช้ตรวจสอบแรงดันไอน้ำภายในท่อของกระบวนการผลิต, ตรวจสอบแรงดันของลมอัดภายในระบบท่อลมของโรงงานอุตสาหกรรม, หรือ ใช้ตรวจสอบแรงดันน้ำมันของเครื่องจักรก็สามารถติดตั้งได้เช่นกัน
Question: เกจวัดแรงดันมีกี่แบบ?
Answer: เกจวัดแรงดันสามารถแบ่งออกได้หลายรูปแบบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปแบบของการแบ่งตัวอย่างเช่น
แบ่งตามประเภทของแรงดันที่เราจะวัด สามารถแบ่งออกได้ 4 ชนิด
1. Pressure Gauge คือ เกจวัดแรงดันทั่วไป โดยสเกลจะมีค่าเป็นตัวเลขฝั่งบวกเสมอ
2. Vacuum Gauge คือ เกจวัดแรงดันในสภาวะที่เป็นสุญญากาศ โดยสเกลจะมีค่าเป็นตัวเลขฝั่งลบ
3. Compound Gauge คือ เกจวัดแรงดันที่สามารถวัดแรงดันได้ในสภาวะปกติ และในสภาวะที่เป็นสุญญากาศ โดยสเกลจะมีค่าเป็นตัวเลขทั้งทางฝั่งลบและทางฝั่งบวก
4. Differential Pressure Gauges คือ เกจวัดแรงดันที่ใช้วัดความแตกต่างของแรงดัน 2 จุด ใช้สำหรับตรวจสอบการทำงานของระบบเครื่องจักร
Question: เลือกซื้อเกจวัดแรงดันยังไง?
Answer: ในการเลือกเกจวัดแรงดันนั้นมีปัจจัยหลายอย่างที่ต้องคำนึงถึงมากมายตัวอย่างเช่น
1. ประเภทของแรงดันที่ต้องการวัด : ตัวอย่างเช่น วัดแรงดันในสภาวะปกติ, วัดแรงดันในสภาวะสุญญากาศ, วัดแรงดันทั้งสองสภาวะ หรือ วัดความแตกต่างของแรงดันระหว่างจุดสองจุด
2. ช่วงที่สามารถอ่านค่าแรงดันได้ รวมไปถึงหน่วยความดันที่ต้องการวัด ตัวอย่างเช่น 0 ถึง 0.1 MPa, 0 ถึง 10 bar และอื่นๆ
3. พิจารณาความแม่นยำของสเกล ตัวอย่างเช่น ±1.6%, ±5% และอื่นๆ
4. พิจารณาสภาพแวดล้อมที่ติดตั้งเกจวัดแรงดัน หากติดในบริเวณที่มีการสั่นสะเทือนตลอดเวลา เกจวัดแรงดัน แบบกลีเซอรีนจะเหมาะสมกว่าเกจวัดแบบทั่วไป
5. พิจารณาขนาดและชนิดของข้อต่อ ตัวอย่างเช่น ข้อต่อ R1/4, R1/8 เป็นต้น
6. ราคาและงบประมาณ
Question: ข้อควรระวังในการใช้งานเกจวัดแรงดัน
Answer: 1. ตรวจสอบเกจวัดแรงดัน อย่างเป็นประจำว่ายังสามารถวัดค่า หรือ อ่านค่าแรงดันได้อย่างถูกต้องหรือไม่
2. เมื่อน้ำมันภายในเกจวัดแรงดัน เริ่มเปลี่ยนเป็นสีเหลืองหรือขุ่น ให้ทำการเปลี่ยนน้ำมัน
3. หลีกเลี่ยงการติดตั้งบริเวณที่มีการสั่นตลอดเวลา
4. หลีกเลี่ยงการติดตั้งบริเวณที่มีความร้อนสูง และความชื้นสูงมากๆ
5. ห้ามทำตกหรือกระแทก เพราะอาจะทำให้เกจวัดแรงดันเกิดความเสียหายทันที
6. ไม่ควรใช้เกจวัดแรงดันที่มีย่านในการวัดค่าที่ต่ำกว่า ไปวัดค่าแรงดันที่สูงกว่า